1/4 โรงเรียนอิกเราะสามัญศึกษา การปฏิบัติตนของผู้ศรัทธาท่ามกลางสถานการณ์ไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 “ลา อิ ลา ฮ่า อิ้ล ลั่ล ลอฮฺ มุ ฮัม มะ ดุรฺ ร่อ ซู ลุ่ล ลอฮฺ” ไม่มีพระเจ้าอื่นใด นอกจากอัลลอฮฺ ท่านนบีมุฮัมมัด ศ็อลลั่ลลอฮู่อะลัยฮี่ว่ะซั่ลลัม เป็นศาสนทูตของอัลลอฮฺ อัลลอฮฺมีความสามารถ มัคลูก (สิ่งถูกสร้างทั้งหลาย) ไม่มีความสามารถ ทุกสิ่งทุกอย่างมาจากอัลลอฮฺ ความเป็น ความตาย มาจากอัลลอฮฺ ความสุข ความทุกข์ มาจากอัลลอฮฺ ความรวย ความจน มาจากอัลลอฮฺ ความสบาย ความเจ็บไข้ได้ป่วย มาจากอัลลอฮฺ ความสาเร็จ ความล้มเหลว มาจากอัลลอฮฺ ถ้าอัลลอฮฺคุ้มครองเรา ไม่มีผู้ใดทาร้ายเราได้ ถ้าอัลลอฮฺไม่คุ้มครองเรา ไม่มีใครช่วยเหลือเราได้ ปัญหา (บททดสอบ) มาจากอัลลอฮฺ และอัลลอฮฺองค์เดียวที่จะแก้ไขปัญหาให้เราได้ เพราะฉะนั้นจาเป็นอย่างยิ่ง ที่เราต้องมุ่งสู่อัลลอฮฺ และขอจากอัลลอฮฺองค์เดียว ลา อิ ลา ฮ่า อิ้ล ลั่ล ลอฮฺ จากข่าวในกรณีของเชื้อโรค “ไวรัสโคโรน่า สายพันธุ์ใหม่ 2019” หรือ coronavirus (CoV) หรือ โรคทางเดินหายใจร้ายแรง ที่เกิดจากไวรัสโคโรน่า โดยโรคดังกล่าวเริ่มระบาดในเมืองอู่ฮั่น มณฑลเหอเป่ย ประเทศจีน ตั้งแต่วันที่ 31 ธ.ค. 2562 ที่ผ่านมา และเชื้อไข้หวัดดังกล่าวได้แพร่กระจายออกไปในหลายประเทศ ทาให้ทุกประเทศเกิดความวิตกกังวลเป็นอย่างมาก เหตุการณ์เช่นนี้ อัลลอฮฺ ตะอาลา ได้ทาให้เราในฐานะผู้ศรัทธาได้เห็นแล้วว่า เมื่อใดก็ตามที่มนุษย์ออกห่างจากคาสั่งของศาสนา ดาเนินชีวิตตามอารมณ์ รับประทานและดื่มตามอารมณ์ ใช้ชีวิตในด้านครอบครัวและในทางสังคมตามอารมณ์ เขาจะได้รับความเสียหาย ยิ่งไปกว่านั้น ยังเป็นสาเหตุให้โลกและบุคคลอื่นต้องได้รับความเสียหายตามไปด้วย โดยไม่ต้องรอให้ถึงโลกหน้าเลย เราทุกคนจึงต้องทบทวนพฤติกรรมของตนเองและย้อนกลับเข้าหาแนวทางอันสูงส่งของอิสลาม ดาเนินชีวิตในรูปแบบอิสลาม อันจะเป็นสาเหตุในการป้องกันตนเองและบุคคลอื่น เพื่อให้ผ่านพ้นวิกฤตการณ์นี้ไปอย่างสันติสุข ด้วยอนุมัติและความพึงพอพระทัยของอัลลอฮฺ ตะอาลา ซึ่งมีแนวทางดังต่อไปนี้
1) สานึกเสมอว่า โรคมิอาจแพร่ระบาดได้ด้วยตัวมันเอง เหตุการณ์ใดๆ จะเกิดขึ้นหรือไม่เกิดขึ้น ล้วนเป็นไปตาม
ประสงค์ของเอกองค์อัลลอฮฺ ตะอาลา ท่านนบี ศ็อลลั่ลลอฮู่อะลัยฮี่ว่ะซั่ลลัม ได้ย้าเตือนไว้ว่า
غَنْ أَبِِ ىُرَيْرَةَ رَضَِِ ا ه للَُّ غَنْوُ غَنْ النهبِِّ صَ ه لَّ ا ه للَُّ ػَلَيْوِ وَسَ ه لََّ كَالَ : “لَ ػَدْوَى وَل طِيَََةَ وَل ىَامَةَ وَل صَفَرَ” رواه البخاري
ความว่า “ไม่มีโรคใดๆ ที่แพร่ระบาด (ด้วยพลังอานาจของมันเอง) ไม่มีความเชื่อในลางร้าย ไม่มีความเชื่อในนกที่พานาเคราะห์ร้าย และไม่มีความเชื่อเรื่องเภทภัยของเดือนศ่อฟัร” (รายงานโดยอัลบุคอรีย์)
ซึ่งอัลกุรอานได้ยืนยันไว้ว่า
2/4
كال ثؼالى : ” ه ل مَا كَتَبَ اللهوُ لَنَا ىُوَ مَوْلَنَ
ِ
كُل لهن يُصِيبَنَا ا ) وَػَلََّ اللهوِ فَلْيَتَوَ ه كَِّ الْمُؤْمِنُونَ ” )التوبة : 15
(มุฮัมมัด) ว่า จะไม่ประสบแก่เราเป็นอันขาด นอกจากสิ่งที่อัลลอฮฺได้กาหนดไว้แก่เราเท่านั้น ซึ่งจงกล่าวเถิด “ความว่า ”พระองค์เป็นผู้คุ้มครองเรา และแด่อัลลอฮฺนั้น มุอฺมินทั้งหลายจงมอบหมายเถิด
2) กลับเข้าหาอัลลอฮฺ ตะอาลา และมอบหมาย (ตะวักกุ้ล) ต่อพระองค์ ในทุกย่างก้าวในการดาเนินชีวิต มุสลิมจะ
ไม่หวั่นเกรงต่อสิ่งใดๆ นอกจากอัลลอฮฺ ตะอาลา เพียงพระองค์เดียวเท่านั้น อัลกุรอานกล่าวว่า كال ثؼالى : ” نْ كُنْتُُْ مُؤْمِنِيَ
ِ
) وَػَلََّ ا ه للَِّ فَتَوَ ه كَُّوا ا ” )المائدة : 32
ความว่า “และแด่อัลลอฮ์นั้นพวกเจ้าจงมอบหมายเถิด หากพวกท่านเป็นผู้ศรัทธา” (อัลมาอิดะฮฺ : 23) ) كال ثؼالى : “وَمَنْ يَتَوَ ه كَّْ ػَلََّ ا ه للَِّ فَيُوَ حَسْ بُوُ” )الطلاق : 2
ความว่า “และผู้ใดมอบหมายแด่อัลลอฮฺ พระองค์ก็จะทรงเป็นผู้พอเพียงแก่เขา” (อัฏฏ่อลาก : 3) ผู้ศรัทธาต้องมั่นใจว่าทั้งโรคภัยไข้เจ็บ และการเยียวยาให้หายจากมันนั้นอยู่ในพระหัตถ์ของอัลลอฮฺ ตะอาลา พระองค์ตรัสเล่าถึงคาพูดของท่านนบีอิบรอฮีม อะลัยฮิสลาม ไว้ว่า كال ثؼالى : ” ذَا مَرِضْتُ فَيُوَ يَشْفِيِ
ِ
) وَا ” )الشؼراء : 08
ความว่า “และเมื่อฉันป่วย ดังนั้นพระองค์ทรงให้ฉันหายป่วย” (อัชชูอะรออ์ : 80)
3) ตระหนักอยู่เสมอว่า จาเป็นต้องปฏิบัติตามคาสั่งของอัลลอฮฺ ตะอาลา และไม่ดาเนินชีวิตตามอารมณ์ เพราะ
การปล่อยชีวิตไปตามอารมณ์ต้องการของตนเองหรือความต้องการของผู้คนที่ขัดกับหลักธรรมของศาสนา นอกจากจากจะเป็นการสร้างความเสียหายแก่ตนเองแล้ว ยังสร้างความเสียหายแก่มนุษย์คนอื่นๆ อีกด้วย ฉะนั้นผู้ศรัทธาจะต้องกิน ดื่ม ใช้จ่ายทรัพย์สิน เวลา และทุกสิ่งทุกอย่างที่อัลลอฮฺ ตะอาลา ทรงประทานแก่เขาไปในหนทางที่สอดคล้องกับหลักธรรมคาสอนของศาสนา พระองค์ตรัสว่า
كال ثؼالى : “وَمَا أَصَابَكُُْ مِنْ مُصِيبَةٍ فَبِمَا كَسَبَتْ أَيْدِيكُُْ وَيَؼْفُو غَنْ كَثِيٍَ” )الشورى : 28 (
ความว่า “และเคราะห์กรรมอันใดที่ประสบแก่พวกเจ้า ก็เนื่องด้วยน้ามือของพวกเจ้าได้ขวนขวายได้ และพระองค์ทรงอภัย (ความผิดให้) มากต่อมากแล้ว” (อัชชูรอ : 30)
นอกจากนี้ ท่านนบี ศ็อลลั่ลลอฮู่อะลัยฮี่ว่ะซั่ลลัม ได้กล่าวไว้ว่า
كال رسول الله صلَّ الله ػليو وسلَّ : “… احفَظِ اللهَ يحفَظْكَ ، احفظِ اللهَ تجدْهُ تُجاىَكَ …” الحديث رواه الترمذي غن ابن
غباس رضِ الله غنهما
ความว่า “… ท่านจงรักษาคาสั่งของอัลลอฮฺ แน่นอนพระองค์จะทรงพิทักษ์รักษาท่าน ท่านจงรักษาคาสั่งของอัลลอฮฺ แน่นอนท่านจะพบความช่วยเหลือของพระองค์ ณ เบื้องหน้าท่าน …” (รายงานโดยอัตติรมิซีย์)
3/4
4) ปฏิบัติตามแนวทางคาสอนของอิสลาม ดังต่อไปนี้
4.1) ผู้ที่อยู่นอกพื้นที่ของการแพร่ระบาด ไม่ต้องออกมาจากพื้นที่นั้น และผู้ที่อยู่นอกพื้นที่นั้นก็อย่าได้เข้าไป
غَنْ أُسَامَةَ بْنِ زَيْدٍ غنِ النهبِِّ صلى الله عليه وسلم كَالَ : إذَا سمِؼْتُُْ ال ه طاغُونَ بِأَرْضٍ، فَلاَ ثَدْخُلُوىَا، وَإذَا وكَعَ بِأَرْضٍ، وَأَهْتُُْ فِيهَا، فَلاَ تََْرُجُوا مِنْهَا
متف ق ػليوِ
ความว่า “เมื่อพวกท่านได้ยินข่าวว่ากาฬโรคระบาดในดินแดนใดๆ พวกท่านก็อย่าได้เข้าไปในดินแดนนั้น และเมื่อโรคนั้นเกิดขึ้นในดินแดนใด ในขณะที่พวกท่านอยู่ในดินแดนนั้น พวกท่านก็อย่าได้ออกมา” (มุตตะฟ่ะกุนอะลัยฮิ์)
4.2) ตรวจสอบตนเอง (มุฮาสะบะฮฺ) ว่าได้ประพฤติตนฝ่าฝืนคาสั่งของอัลลอฮฺ ตะอาลา หรือไม่ พร้อมทั้งให้ขอ
อภัยโทษ (อิสติฆฺฟารฺ) และสานึกผิด (เตาบะฮฺ) ต่อพระองค์ ทั้งนี้ อัลลอฮฺ ตะอาลา ทรงสัญญาว่าจะไม่ลงโทษกลุ่มชนใดๆ หากท่ามกลางพวกเขามีประการหนึ่งประการใดจาก 2 ประการ ดังปรากฏในโองการที่ว่า
) كال ثؼالى : “وَمَا كََنَ اللهوُ لِيُؼَذِّبََُمْ وَأَهتَ فِيهِمْ وَمَا كََنَ اللهوُ مُؼَذِّبََُمْ وَهُُْ يَسْ تَغْفِرُونَ” )الٔهفال : 02
ความว่า “และพระองค์อัลลอฮฺจะไม่ทรงลงโทษพวกเขาขณะที่เจ้า (นบมีมุฮัมมัด) อยู่ในพวกเขา และอัลลอฮฺจะไม่เป็นผู้ทรงลงโทษพวกเขาในสภาพที่พวกเขาขออภัยโทษ (ต่อพระองค์)” (อัลอันง์ฟาล : 83)
สาหรับพวกเรา ประการแรกได้ผ่านเลยพวกเราไปแล้ว กล่าวคือ ท่านนบี ศ็อลลั่ลลอฮู่อะลัยฮี่ว่ะซั่ลลัม ได้วะฟาต กลับไปหาอัลลอฮฺ ตะอาลา แล้ว ที่เหลืออยู่สาหรับพวกเราคือ ประการสุดท้าย นั่นคือ การขออภัยโทษต่ออัลลอฮฺ ตะอาลา นั่นเอง
4.3) ขอความช่วยเหลือและขอความคุ้มครองจากอัลลอฮฺ ตะอาลา ด้วยการเข้าสู่การละหมาด มีฮะดีษระบุว่า
غن حذيفةَ كالَ كَنَ النهبُّ ص ه لَّ ا ه للَُّ ػليْوِ وس ه لََّ إذا حزبَوُ أٔم ر ص ه لَّ . رواه أٔبو داود
ความว่า รายงานจากท่านฮุซัยฟะฮฺ ร่อฎิยั่ลลอฮู่อันฮู่ กล่าวว่า เมื่อท่านนบี ศ็อลลั่ลลอฮู่อะลัยฮี่ว่ะซั่ลลัม มีเรื่องไม่สบายใจใดๆ ท่านจะเข้าสู่การละหมาด” (บันทึกโดยอบูดาวูด)
4.4) กล่าวซิกรุ่ลลอฮ์และขอดุอาอฺให้มากๆ โดยเฉพาะดุอาอฺต่อไปนี้
بِسْمِ ا ه للَِّ ا ه لَِّي لَ يَضُُُّ مَعَ اسْمِوِ شََْ ء فِِ الَْرْضِ وَلَ فِِ ال ه سمَاءِ وَىُوَ ال ه سمِيعُ الْؼَلِيُ
ความว่า “ด้วยพระนามของอัลลอฮฺ ซึ่งพร้อมด้วยพระนามของพระองค์ย่อมไม่มีสิ่งใดๆ ในผืนดินและฟากฟ้าก่อให้เกิดภยันตรายใดๆ ได้ และพระองค์คือผู้ทรงได้ยินทุกสรรพสิ่ง อีกทั้งทรงรอบรู้ยิ่ง” (บันทึกโดยอบูดาวูด และอัตติรมิซีย์)
ผู้ใดอ่านดุอาอฺบทนี้สามครั้งในตอนเช้า และสามครั้งในตอนเย็น อินชาอัลลอฮฺ ภัยบะลาอฺใดๆ จะไม่ประสบแก่เขาอย่างแน่นอน
4/4
أَغُوذُ بِكََِمَاتِ اللهِ التها ه ماتِ مِنْ شَِّ مَا خَلَقَ
ความว่า “ข้าพระองค์ขอความคุ้มครองด้วยประกาศิตอันสมบูรณ์แห่งอัลลอฮฺ ให้พ้นจากความชั่วร้ายของสิ่งที่พระองค์ทรงสร้าง” (รายงานโดยมุสลิม)
ผู้ใดอ่านดุอาอฺข้างต้นนี้ เขาจะได้รับการพิทักษ์รักษาจากอัลลอฮฺ ตะอาลา ให้พ้นภัยต่างๆ ด้วยอนุมัติของพระองค์
نِّّ أَسْأَلَُُ الْؼَافِيَةَ فِِ الدُّهْيَا وَالْٓخِرَةِ،
ِ
اللهيُ ه م ا نِّّ أَسْأَلَُُ الْؼَفْوَ وَالْؼَافِيَةَ فِِ دِينِِ وَدُهْيَايَ وَأَىْلِِ وَمَالِِ، اللهيُ ه م اسْتُرْ غَوْرَاتِ
ِ
اللهيُ ه م ا وَأٓمِنْ
رَوْػَاتِ، اللهيُ ه م احْفَظْنِِ مِنْ بَيِْ يَدَ ه ي وَمِنْ خَلْفِي وَغَنْ يَمِينِِ وَغَنْ شَِِالِِ وَمِنْ فَوْقِِ وَأَغُ وذُ بِؼَظَمَتِكَ مِنْ أَنْ أُغْتَالَ مِنْ تحتي
ความว่า “โอ้อัลลอฮฺเจ้า แท้จริงข้าพระองค์วอนขอพระองค์ได้โปรดประทานความผาสุก (อาฟิยะฮฺ) ทั้งในดุนยา (ให้พ้นจากภัยบะลาอฺ) และในอาคิเราะฮฺ (ให้พ้นจากการถูกลงโทษ) โอ้อัลลอฮฺเจ้า แท้จริงข้าพระองค์วอนขอต่อพระองค์ ให้ ได้รับการประทานอภัยโทษและความผาสุก ทั้งในเรื่องศาสนาของข้าพระองค์ ดุนยาของข้าพระองค์ ครอบครัวและทรัพย์สินของข้าพระองค์ โอ้อัลลอฮฺเจ้า ขอพระองค์ได้โปรดปกปิดข้อตาหนิ (หรือข้อบกพร่อง) ของข้าพระองค์ 1 และขอพระองค์ได้โปรดประทานความสงบปลอดภัยแก่ความหวั่นวิตกต่างๆ ของข้าพระองค์ด้วยเถิด โอ้อัลลอฮฺเจ้า ได้โปรดปกป้องรักษาข้าพระองค์จากทางด้านหน้าของข้าพระองค์ จากด้านหลังของข้าพระองค์ จากด้านขวาของข้าพระองค์ จากด้านซ้ายของข้าพระองค์ และจากด้านบนของข้าพระองค์ และข้าพระองค์ขอความคุ้มครองด้วยความยิ่งใหญ่ของพระองค์ ให้พ้นจากการถูกจู่โจมจากทางด้านล่างของข้าพระองค์ด้วยเถิด”
4.5) ปฏิบัติตนตามหลักฏ้อฮาเราะฮฺ (ด้านความสะอาด) และสุขอนามัย เช่น
– รับประทานอาหารที่ฮะลาล และปรุงสุก
– ไม่รับประทานอาหารสุกๆ ดิบๆ หรืออาหารที่ทานดิบๆ และควรเป็นอาหารที่ปรุงด้วยตนเองจากที่บ้าน
– ไม่รับประทานอาหารที่ปรุงจากสัตว์ป่า
– หลีกเลี่ยง ไม่เข้าไปในสถานที่ผู้คนพลุกพล่าน เช่น ห้างสรรพสินค้า เป็นต้น
– หลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่แออัด และมีมลภาวะเป็นพิษ
– เมื่อออกนอกบ้านควรสวมหน้ากากอนามัย
– พยายามรักษาตนเองให้อยู่ในสภาพที่มีน้าละหมาด (วุดูอฺ) อยู่ตลอดเวลา และล้างมือให้สะอาดบ่อยๆ
– เมื่อลูกป่วย ไม่ส่งลูกมาโรงเรียน ให้พาไปพบแพทย์ และ/หรือทานยาและพักผ่อนอยู่ที่บ้าน
– ไม่ใช้สิ่งของร่วมกับผู้อื่น เช่น ผ้าเช็ดหน้า และแก้วน้า เป็นต้น พร้อมทั้งกาชับให้บุตรหลานนากระบอกน้าส่วนตัวมาโรงเรียนทุกวัน
– รักษาความสะอาดบ้านเรือน พื้นที่ใช้สอยและอุปกรณ์ข้าวของต่างๆ ตามหลักฏ้อฮาเราะฮ์ (ศาสนบัญญัติ)
1 ในอีกนัยยะหนึ่ง หมายถึง ขอพระองค์ทรงปกป้องรักษาบรรดาสตรีของข้าพระองค์ด้วยเถิด
2,423 total views, 2 views today
More Stories
SEC ภาคใต้กับSEA สงขลา-ปัตตานี
สู่พรบ.สันติภาพ เพื่อประกันกระบวนการสันติภาพชายแดนใต้
ฮัจญ์ไทยในภารกิจทูตสันติภาพใน 3 ภารกิจ จชต.