โดยศูนย์ฟัตวาออนไลน์อัซฮัรโลก
«عَشرة تنبيهات حول صلاة الجُمُعة يُقدِّمها إليكم مركز الأزهر العالميّ للفتوى الإلكترونية»
1) ไม่มีการจัดละหมาดวันศุกร์ในบ้าน ถึงแม้จำนวน
คนละหมาดมีหลายคนก็ตาม แต่ให้ทำการละหมาด
ซุฮรี 4 รอกาอัตเท่านั้น
1) لا تنعقد صلاةُ الجُمُعة في المنزل وإن كَثُر عددُ المصلِّين؛ وإنما تُصلى ظهرًا أربع ركعات.
2) ให้ผู้ทำการอาซานในมัสยิด โดยเรียกร้องในอาซ
านวันศุกร์ว่า :
” ألا صلو في بيوتكم ظهرا , ألا صلوا في رحالكم ظهرا ”
แทนจากคำเรียกร้อง : حي على الصلاة حي على الفلاح
2) يُؤذِّن لها مؤذنو المساجد الجامعة، ويُنادون في أذانهم: «ألَا صلُّوا في بُيوتكم ظهرًا، ألَا صلُّوا في رِحَالكُم ظهرًا»، بدل قولهم: «حي على الصَّلاة، حي على الصَّلاة، حي على الفلاح، حي على الفلاح».
3) คนละหมาดที่ละหมาดถือว่าพอเพียงแล้วด้วยเสีย
งอาซานที่มัสยิด (คือไม่ต้องอาซานที่บ้าน) และมุสต
ะฮับให้คนใดคนหนึ่งจากคนละหมาดทำการอิกอมะ
ห์ ก่อนละหมาดซุฮรี 4 รอกาอัต
3) يَكتفي المُصلّون في منازلهم بأذانِ المسجد، وتُستحب إقامةُ أحدِهم للصَّلاة قبل أدائها.
4) มุสตะฮับให้ทำการละหมาดแบบญะมาอะห์ (ร่วม)
ที่บ้าน เพื่อละหมาดวันศุกร์ เป็นละหมาดซุฮรี (4 รอก
าอัต) ซึ่งผู้ชายนำละหมาดคนในครอบครัว ทั้งชาย
และหญิง
4) يُستحب أنْ تُقَام الجَمَاعة في البيت لصلاة الجُمُعة ظهرًا، وأنْ يَؤمَّ الرجل فيها أهله ذُكورًا، وإناثًا.
5) เมื่อสามีละหมาดกับภรรยาแบบญะมาอะห์ ให้ภรร
ยายืนข้างหลังสามี
5) إذا صلَّى الرَّجل بزوجته جماعةً؛ وقفت الزَّوجة خلفَه.
6) เมื่อละหมาดกับลูกชาย 1 คน และภรรยา โดยให้
ลูกชายยืนข้างขวามือสามี (พ่อ) และภรรยายืนข้าง
หลังสามี
6) إذا كان للرَّجل ولدٌ من الذُّكور وزوجة؛ صلَّى الولد عن يمينه، وصلَّت زوجتُه خلفَه.
7) เมื่อละหมาดกับลูกชายหลายคน , ลูกสาวหลายค
น และภรรยา โดยให้บรรดาลูกผู้ชายยืนในแถวหนึ่ง
ข้างหลังสามี (พ่อ) และภรรยากับลูกสาวยืนในแถว
ถัดไปข้างหลังลูกผู้ชาย
7) إذا كان للرَّجل أولادٌ ذكورٌ وإناثٌ وزوجةٌ؛ صلَّى الذُّكورُ خلفه في صفٍّ، وصلَّت الزَّوجة والبنات في صفٍّ آخر خلف الذُّكور.
8) ละหมากสุนัตซุฮรี (รอวาเต็บ) ตามรูปแบบที่ทราบ
กันที่ปฏบัติกัน (คือ 4 รอกาอัตก่อนละหมาด และ 2 รอกาอัตหลังลพหมาด)
8) تُصلَّى سُنن الظهر الرَّواتب على وجهها المعلوم قبل الصَّلاة وبعدها (أربع ركعات قبلها واثنتان بعدها)
9) บทบัญญัติให้อ่านดุอากุนูตหลังลุกขึ้นมาจากรุกูว
ะอ์ ในรอกาอัตสุดท้ายของละหมาดซุฮรี ขอวิงวอน
ให้อัลลอฮโปรดยกภัยบลาออกจากสากลโลกนี้ไป
9) يُشرع القنوتُ (الدُّعاء) بعد الرَّفع من ركوع آخر ركعة من صلاة الظُّهر؛ تضرُّعًا إلى الله سُبحانه أن يرفع عنَّا وعن العالمين البلاء.
10) บุคคลใดที่ความต้องการละหมาดวันศุกร์ก่อน
หน้านี้ (ไม่มีประกาศสั่งงด) ในสภาพร้อนระอุ อันตรา
ย โดยไม่สามารถปฏิบัติศาสนกิจละหมาดวันศุกร์ใน
มัสยิดได้ บุคคลผู้นั้นเขาจะได้รับผลบุญละหมาดวัน
ศุกร์อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ มาดแม้นว่าเขาละหมาด
ตั้งเจตนาว่าละหมาดซุฮรีก็ตาม ..อิงชาอัลลอฮ
เพราะมีรายงานฮาดิษของท่านนบีมุหัมหมัด ที่ว่า :
” เมื่อบ่าวได้ป่วย หรือเดินทาง ผลบุญถูกบันทึกแก่เข
า เหมือนกับสิ่งที่เขาได้กระทำ”
10) من كان حريصًا على صلاة الجُمُعة قبل ذلك، وحال الظَّرف الرَّاهن دون أدائها جمعة في المسجد؛ له أجرُها كاملًا وإنْ صلَّاها في بيته ظهرًا إنْ شاء الله؛ لحديثِ سيِّدنا رسول الله ﷺ: «إذَا مَرِضَ العَبْدُ، أوْ سَافَرَ، كُتِبَ له مِثْلُ ما كانَ يَعْمَلُ مُقِيمًا صَحِيحًا» [أخرجه البخاري].
واللهَ نسأل أن يرفع عنَّا وعن العالمين البلاء، وأن يرزقنا حُسْن اللجوء إليه، وطمأنينة الصِّلة به، إنَّه سُبحانه غفورٌ ودودٌ.
وصلَّى الله وسلَّمَ وبارك على سيِّدنا ومولانا مُحمَّد، والحمد لله ربِّ العالمين.
ถอดความ : อิสมาอีล สิงหาด
ที่มา : ศูนย์ฟัตวาฯ
วันที่ : 26 มีนาคม 2563
1,253 total views, 4 views today
More Stories
SEC ภาคใต้กับSEA สงขลา-ปัตตานี
สู่พรบ.สันติภาพ เพื่อประกันกระบวนการสันติภาพชายแดนใต้
ฮัจญ์ไทยในภารกิจทูตสันติภาพใน 3 ภารกิจ จชต.