พฤศจิกายน 27, 2024

สื่อเพื่อสันติspmc

spmc สื่อเพื่อสันติ สรรค์สร้างสังคม

# เกาะติดCOVID-19: ฟัตวา (คำวินิจฉัย)สหพันธ์อุลามาอ์อิสลามนานาชาติ หรือปราชญ์อิสลามนานาชาติ( International Union for Muslim Scholars – ว่าด้วยโรคไวรัสโคโรนา (ฉบับที่ 1 )

แชร์เลย

สรุปความโดย ดร.ฆอซาลี เบ็ญหมัด..

بسم الله الرحمن الرحيم


○ ● โลกกำลังตระหนกในการเกาะติดการระบาดอย่างรวดเร็วของไวรัสโคโรน่า โควิด-19 ที่องค์การอนามัยโลก เรียกว่า โรคระบาดระดับโลก

และเนื่องจากไวรัสที่ระบาดและร้ายแรงนี้ สามารถติดต่อจากผู้ติดเชื้อคนหนึ่งไปยังผู้อื่น ด้วยการร่วมชุมนุมและการสัมผัสทุกรูปแบบ ดังนั้น การประชุมและการชุมนุมทุกรูปแบบกลายเป็นพื้นที่และสาเหตุที่เป็นไปได้สำหรับการแพร่เชื้อไวรัส โรคและอาการของโรคนี้

มุสลิมหลายๆ คนจากทั่วโลก ถามเกี่ยวกับการละหมาดวันศุกร์และการละหมาดญมาอะฮ์ในมัสยิดในสถานการณ์เช่นนี้ ยังคงมีความจำเป็นเช่นเดิม หรืออนุญาตให้ละเว้นได้ ? หรือบทบัญญัติอื่น ?

● ○ คำตอบ

1. อัลลอฮ์กล่าวว่า

{وَلَا تُلْقُوا بِأَيْدِيكُمْ إِلَى التَّهْلُكَةِ وَأَحْسِنُوا إِنَّ اللَّهَ يُحِبُّ الْمُحْسِنِينَ} [البقرة: 195]،

“พวกท่านอย่าได้ทำร้ายตนเอง และจงทำดี แท้จริงอัลลอฮ์รักผู้กระทำดี” (อัลบะเกาะเราะฮ์ : 195 )

อายะห์นี้ห้ามกระทำการที่อาจเป็นอันตรายต่อร่างกาย โดยไม่มีความจำเป็นขีดสุด แต่ได้บัญชาใช้ในสิ่งตรงกันข้าม อันได้แก่ การกระทำในสิ่งที่เป็นประโยชน์ ที่อัลลอฮ์พอใจและให้บ่าวของพระองค์ปฏิบัติ

2. หะดีษจากท่านอิบนุอับบาส ท่านนบี ศอลฯ กล่าวว่า
لا ضرر ولا ضرار
“ไม่มีการทำร้ายตนเองและทำร้ายผู้อื่น”

อันเป็นหลักการกว้างๆ ในการห้ามกระทำการใดๆ ที่เป็นอันตรายต่อตนเองและผู้อื่น

3. หะดีษจากท่านอิบนุอุมัร ท่านนบี ศอลฯ กล่าวว่า

من أكل من هذه الشجرةَ – يعني الثوم – فلا يقربنَّ مسجدنا
“ผู้ใดรับประทานผักนี้ (หัวหอม) ก็จงอย่าเข้าใกล้มัสยิดเรา”

หลักฐานทั้งหมดนี้รวมถึงหลักฐานอื่น บ่งชี้อย่างชัดเจนว่า การละหมาดญามาอะฮ์และละหมาดวันศุกร์เป็นเรื่องที่ไม่จำเป็น หรือถึงถึงขั้นเป็นเรื่องต้องห้าม ในลักษณะที่มีความเป็นไปได้ที่แท้จริงและความเสี่ยงต่อโรคไวรัสโคโรน่าดังกล่าวข้างต้น

นอกจากนั้น หะดีษสุดท้ายก็ห้ามผู้ที่มีกลิ่นไม่พึงประสงค์ ไม่ให้เข้ามาในมัสยิด เพื่อป้องกันไม่ให้กลิ่นของเขารบกวนผู้มาละหมาด ดังนั้น ผู้ที่อาจทำให้ผู้มาละหมาดเจ็บป่วยหรือตาย หรืออาจนำตัวเองไปติดโรคร้าย ศาสนาจะไม่ห้ามได้อย่างไร

สิ่งที่ยืนยันหลักดังกล่าวอีกประการหนึ่งคือ ในเวลาละหมาดต้องยืนชิดกัน เสมอกัน และลมหายใจของพวกเขาประสานกัน
และแต่ละคนก็มีโอกาสไอและจามได้ทุกเวลา ในขณะที่ใกล้ชิดกับคนที่อยู่ทางขวาและทางซ้าย ดังนั้น การแพร่เชื้อไวรัสในเวลาดังกล่าวจึงเป็นไปได้โดยสมบูรณ์

ดังนั้น ในฐานะปฏิบัติตามหลักการดังกล่าวข้างต้น และ ดำรัสของอัลลอฮ์ ที่ว่า
{وَتَعَاوَنُوا عَلَى الْبِرِّ وَالتَّقْوَى} [المائدة: 2]،

“และจงช่วยเหลือกันในการทำดีและความยำเกรง”

สหพันธ์นักวิชาการมุสลิมโลก จึงเรียกร้องให้ชาวมุสลิมทุกคนระงับทำการละหมาดวันศุกร์และการละหมาดญามาอะฮ์ในเมืองใดก็ตามที่โรคระบาดเกิดขึ้นและคุกคามอย่างแท้จริง ตามรายงานทางการแพทย์ที่เชื่อถือได้ การระงับนี้จะดำเนินต่อไปจนกว่าจะมีการควบคุมการแพร่ระบาดของโรค และพ้นระยะของการแพร่กระจายและอันตราย ตามที่เจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจประเมินไว้

19 รอญับ 1441 / 14 มีนาคม ค.ศ.2020/2563

ศ.ดร.อาลี มุห์ยิดดีน ก๊อรเราะฮ์ดาฆี
เลขาธิการสหพันธ์

ศ.ดร.อะหมัด อับดุสสาลาม รัยซูนีย์
นายกสหพันธ์
หมายเหตุสามารถดูต้นฉบับภาษาอาหรับด้านล่างนี้

بسم الله الرحمن الرحيم
فتوى رقم (١) حول وباء كورونا

#الاتحاد العالمي لعلماء المسلمين يدعو إلى إيقاف إقامة #صلاة الجمعة وصلوات الجماعة، في أي بلد يتفشي فيه وباء #كورونا، وأصبح يشكل مصدر خوف حقيقي، بناءً على التقارير الطبية الموثوقة المعتمدة من الدولة، إلى حين السيطرة على الوباء.

يتابع العالم بفزع كبير الانتشارَ السريعَ لفيروس “كورونا: كوفيد19″، الذي صنفته منظمة الصحة العالمية وباء عالميا.
وبما أن هذا الفيروس الوبائي الفتاك ينتقل من الأشخاص المصابين به إلى غيرهم بكل أشكال الاختلاط والتحاذي والتَّماسّ، فإن كل اللقاءات والتجمعات تصبح كلها مجالا وسببا محتملا لانتقال الفيروس والمرض والخطر في أثنائها..
ويتساءل كثير من المسلمين في شتى أنحاء العالم، عن أدائهم لصلاة الجمعة وصلاة الجماعة بالمساجد، في هذه الظروف، وهل ذلك يبقى على ما هو عليه؟ أم يجوز التخلف عن الجماعة، أو حتى عن الجمعة؟ أو غير ذلك من الأحكام؟
والجواب على ذلك يوجد:
1. في قوله تعالى: {وَلَا تُلْقُوا بِأَيْدِيكُمْ إِلَى التَّهْلُكَةِ وَأَحْسِنُوا إِنَّ اللَّهَ يُحِبُّ الْمُحْسِنِينَ} [البقرة: 195]، الذي ينهى عن تعريض النفوس إلى ما فيه هلاكها، بلا ضرورة ملجئة، ويأمر بعكس ذلك، وهو الإحسان الذي يحبه الله ويرضاه لعباده.
2. وفي قوله صلى الله عليه وسلم عن ابن عباس رضي الله تعالى عنهما قال: قال رسول الله صلى الله عليه وسلم: (لا ضرر ولا ضرار)، وهو نهي عام عن التسبب في أي ضرر للنفس أو الغير.
3. وفي قوله أيضا، عن ابن عمر رضي الله عنهما، أن النبي صلى الله عليه وسلم قال: (من أكل من هذه الشجرةَ – يعني الثوم – فلا يقربنَّ مسجدنا).
هذه الأدلة كلها – وغيرُها – ترشد وتدل دلالة واضحة على أن إقامة صلوات الجماعة والجمعة، في ظل الاحتمال الفعلي والجدي للمخاطر المشار إليها، لا يلزم شرعا، ولا يجوز.
بل إن الحديث النبوي الأخير يمنع حتى صاحبَ الرائحة الكريهة من دخول المسجد، كي لا يؤْذي المصلين برائحته، فكيف بمن يمكن أن يتسبب لهم في المرض أو الموت، أو يمكن أن يجلب ذلك لنفسه؟
ومما يؤكد ما سبق أنّ المصلين في وقت صلاتهم يلزمهم أن يكونوا متلاصقين متراصِّين، وتكونَ وجوهُهم متحاذيةً وأنفاسُهم متداخلةً.
ثم إن كل واحد منهم يكون عرضة للسعال والعطاس في أي لحظة، وهو متلاصق مع مَن على يمينه ومَن على يساره، فتكون احتمالات انتقال الفيروس عند ذلك ممكنةً تماما.
فعملا بالأدلة الشرعية المذكورة، وبقوله تعالى {وَتَعَاوَنُوا عَلَى
الْبِرِّ وَالتَّقْوَى} [المائدة: 2]،

يدعو الاتحاد العالمي لعلماء المسلمين كافة المسلمين إلى إيقاف إقامة صلاة الجمعة وصلوات الجماعة، في أي بلد بدأ فيه تفشي الوباء، وأصبح يشكل مصدر خوف حقيقي، بناء على التقارير الطبية الموثوقة المعتمدة من الدولة. ويستمر هذا الإيقاف إلى حين السيطرة على الوباء وتجاوز مرحلة الانتشار والخطر، حسبما تقدره الجهات العليمة المختصة.

19 رجب 1441هـ الموافق 14 مارس 2020م

أ.د علي محيي الدين القره داغي أ.د. أحمد عبد السلام الريسوني
الأمين العام رئيس الاتحاد

http://www.iumsonline.org/ar/ContentDetails.aspx?ID=11084
สอดคล้องข่าวภาษามลายู
“Henti sementara solat Jumaat, kata Yusuf al-Qardhawi”

QATAR – Presiden Kesatuan Ulama Antarabangsa (IUMS), Yusuf al- Qardhawi menyeru negara yang terjejas Covid-19 menghentikan solat Jumaat sementara keadaan kembali pulih.

Ia termasuk juga solat berjemaah sekiranya perlu, kata ulama terkenal itu.
Al Jazeera yang berpangkalan di Qatar melaporkan kenyataan ulama terkenal itu dibuat IUMS.

Henti sementara solat Jumaat, kata Yusuf al-Qardhawi

รายงานก่อนหน้านี้เกี่ยวหลักการอิสลามกับโรคนี้(จากอุสตาซอับดุชชะกูร บินชาฟิอีย์)
http://oknation.nationtv.tv/blog/shukur/2020/03/15/entry-1

 1,225 total views,  2 views today

You may have missed