พฤศจิกายน 18, 2024

สื่อเพื่อสันติspmc

spmc สื่อเพื่อสันติ สรรค์สร้างสังคม

#เกาะติด Covid-19:สถาการณ์ที่อียิปต์ทำให้อัซฮัรต้องประกาศ (ใช้เฉพาะที่อียิปต์)

แชร์เลย


********* ประกาศคำชี้แจง *******
สภาอุลาอ์ผู้ทรงคุณวุฒิ อัลอัซฮัร อียิปต์
#الأزهر_الشريف
#هيئة_كبار_العل
بيان للناس
อนุญาตงดการละหมาดวันศุกร์และญะมาอะห์ เพื่อ
คุ้มครอง ปกป้องรักษามนุษย์จากไวรัสโคโรนา
جواز إيقاف صلوات الجُمع والجماعات حمايةً للناس من فيروس #كورونا
الحمد لله وحده، والصلاة والسلام على مَن لا نبيَّ بعدَه… وبعدُ:
ตามที่ได้มีรายงานทางการแพทย์อย่างต่อเนื่อง ถึง
การแพร่หลายเชื้อไวรัสโคโรนา (โควิด – 19) อย่าง
รวดเร็ว และกลายเป็นโรคระบาดทั่วทุกมุมโลก รวม
ทั้งมีข้อมูลทางการแพทย์มีระบุว่า ความอันตรายที่
แท้จริงของไวรัสตัวนี้ คือ แพร่หลายไวรัสอย่างง่าย
ดายและรวดเร็ว และผู้ที่ติดเชื้อจะไม่แสดงอาการ ซึ่งผู้ติดเชื้อจะไม่ทราบว่าเขาติดเชื้อไวรัส เพราะเชื้อ
ไวรัสโรคติดต่อนี้ จะแพร่กระจายในทุก ๆ ที่
ففي ضوء ما تسفر عنه التقارير الصحية المتتابعة من سرعة
انتشار (#فيروس_كورونا – كوفيد 19) وتحوُّله إلى وباء عالمي، ومع تواتر المعلومات الطبية من أن الخطر الحقيقي للفيروس هو في سهولة وسرعة انتشاره، وأن المصاب به قد لا تظهر عليه أعراضه، ولا يَعْلم أنه مصاب به، وهو بذلك ينشر العدوى في كل مكان ينتقل إليه.

เมื่อหนึ่งในเป้าหมายของบทบัญญัติศาสนาอิสลาม
คือ การคุ้มครองปกป้องกันชีวิตจากทุกอันตรายและ
โทษร้ายต่าง ๆ สภาอุละมาอ์ผู้ทรงคุณวุฒิ อัซฮัร จึง
-เป็นผู้รับผิดชอบทางการศาสนา- แจ้งให้เจ้าหน้าที่
ทราบกันอย่างถ้วนหน้า ว่า :” ตามหลักศาสนาอนุญา
ตให้หยุดงดการละหมาดวันศุกร์และญะมาอะห์ในประเทศนั้นได้ เนื่องจากหวาดกลัวจากการแพร่ระบา
ดของเชื้อไวรัสต่อประเทศและประชาชน”
ولما كان من أعظم مقاصد شريعة الإسلام حفظُ النفوس وحمايتها ووقايتها من كل الأخطار والأضرار.
فإنَّ هيئة كبار العلماء – انطلاقًا من مسؤوليتها الشرعية – تحيط المسؤولين في كافة الأرجاء علمًا بأنه يجوز شرعًا إيقاف الجُمَعِ والجماعات في البلاد؛ خوفًا من تفشِّي الفيروس وانتشاره والفتك بالبلاد والعباد.

ดังที่มีบังคับ โดยเฉพาะผู้ป่วย และผู้สูงอายุให้พักอยู่
ที่ในบ้าน จำเป็นต้องปฏิบัติตามมาตรการเฝ้าระวังที่
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่มีอำนาจในแต่ละประเทศและ
ห้ามออกจากบ้าน เพื่อละหมาดวันศุกร์ หรือญะมาอะ
ห์ ภายหลังจากทางการแพทย์มีมติ ซึ่งมีระบุสถิติอย่
างเป็น ถึงการแพร่โรคระบาดโคโรนา และเป็นสาเห
ตุให้ผู้คนจำนวนมากได้เสียชีวิตทั่วโลก และถือเป็น
ที่เข้าใจ เพียงพอแล้วโรคระบาดนี้คาดว่าอันตราย
ตามที่คาดคิด และหลักฐานต่าง ๆ ที่ปรากฎ เช่น
จำนวนสถิติผู้ติดเชื้อสูงขึ้น , วินิจฉัยตีความเป็นโรค
ระบาด และเชื้อไวรัสมีการพัฒนาขยายพันธ์
كما يتعيَّن وجوبًا على المرضى وكبار السن البقاء في منازلهم، والالتزام بالإجراءات الاحترازية التي تُعلن عنها السلطات المختصة في كل دولة، وعدم الخروج لصلاة الجمعة أو الجماعة؛ بعد ما تقرر طبيًّا، وثبت من الإحصاءات الرسمية انتشار هذا المرض وتسبُّبه في وفيات الكثيرين في العالم، ويكفي في تقدير خطر هذا الوباء غلبة الظن والشواهد: كارتفاع نسبة المصابين، واحتمال العدوى، وتطور الفيروس.

ทั้งนี้ จำเป็นสำหรับเจ้าหน้าที่ในทุกประเทศ ต้องทุ่ม
เทอย่างสุดความสามารถ , ยึดปฏิบัติตามแนวทาง
เฝ้าระวังป้องกันเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัส
โดยนักวิชาการอุละมาอ์มีมติ ดังนี้ :-
1. การคาดสิ่งที่จะเกิดขึ้นในเวลาอันใกล้นี้ ฮูกุ่มเหมือ
นกับสิ่งที่ปรากฎเกิดขึ้นแล้ว
2. สิ่งหนึ่งที่อยู่ใกล้กับสิ่งหนึ่ง ก็ถือเป็นฮุกุ่มเดียวกัน
3. การรักษาสุขภาพร่างกาย ถือเป็นเป้าหมาย เจต
นารมณ์ที่ยิ่งใหญ่หลวงที่สุดของบทบัญญัติศาสนา
هذا، ويجب على المسؤولين في كل دولةٍ بذل كل الجهود الممكنة، واتخاذ الأساليب الاحترازية والوقائية لمنع انتشار الفيروس؛ فالمحققون من العلماء متفقون على أنَّ المتوقَّعَ القريبَ كالواقع، وأن ما يقاربُ الشيءَ يأخذُ حكمَه، وأنَّ صحة الأبدان من أعظم المقاصد والأهداف في الشريعة الإسلامية.

หลักฐานตามหลักศาสนาที่หยุด งดการละหมาดวัน
ศุกร์และญะมาอะห์ เพื่อป้องกันการแพร่โรคระบาด
มีรายงานหนึ่งใน ศอฮีฮัยน์ الصحيحين ว่า แท้จริงอับ
ดุลเลาะห์ อิบนุ อับบาส กล่าวแก่ผู้อาซานในวันที่ฝน
ตกว่า :” เมื่อท่านได้กล่าวคำ أشهد أن محمد رسول الله
แล้ว ดังนั้นอย่าได้กล่าวคำว่า حي على الصلاة แต่จง
กล่าวคำว่า : صلوا في بيوتكم สูเจ้าทั้งหลายจงละหมา
ดในบ้านของพวกท่าน ผู้คนในยุคนั้น้หมือนกับจะปฏิ
เสธการออกคำสั่งของเขา (อับดุลเลาะห์) เขาจึงกล่
าวว่า:”บุคคลที่ดีเลิศกว่าฉันนั้นเขาได้กระทำเช่นนั้น”
อันแท้จริงละหมาดวันศุกร์นั้น อุสมะห์ และฉันไม่ชอ
บที่ให้ท่านทั้งหลายออกมา แล้วเดินบนดินโคลนแฉะ
والدليل على مشروعيَّة تعطيل صلاة الجمعة والجماعات وإيقافهما؛ تلافيًا لانتشار الوباء: ما روي في الصحيحين: «أن عَبْدَ اللهِ بْنَ عَبَّاسٍ قال لِمُؤَذِّنِهِ فِي يَوْمٍ مَطِيرٍ: إِذَا قُلْتَ: أَشْهَدُ أَنَّ مُحَمَّدًا رَسُولُ اللهِ، فَلاَ تَقُلْ حَيّ عَلَى الصَّلاَةِ، قُلْ: صَلُّوا فِي بُيُوتِكُمْ، فَكَأَنَّ النَّاسَ اسْتَنْكَرُوا، قَالَ: فَعَلَهُ مَنْ هُوَ خَيْرٌ مِنِّي، إِنَّ الْجُمُعَةَ عَزْمَةٌ، وَإِنِّي كَرِهْتُ أَنْ أُحْرِجَكُمْ، فَتَمْشُونَ فِي الطِّينِ وَالدَّحَضِ».

ฮาดิษข้างต้นนั้นบ่งชี้ถึงคำสั่งให้ละทิ้งละหมาดญะมาอะห์ เพื่อไม่เกิดความยากลำบากที่จะเกิดขึ้นเนื่อง
จากสาเหตุฝนตก ซึ่งไม่ต้องสงสัยเลยว่า ความอันตร
ายของไวรัสโคโรนานั้นมันอันตรายยิ่งกว่าความลำบ
ากของการเดินไปละหมาดขณะฝนตก ฉะนั้นการ
ผ่อนผัน อนุโลมให้ทิ้งละหมาดวันศุกร์ในมัสยิดในข
ณะที่มีโรคระบาดแพร่หลาย เป็นเรื่องหลักการศาสน
า เป็นเรื่องที่ยอมรับกันทางด้านสติปัญญาและฟิกฮ์
(เข้าใจถึงสถานการณ์ปัจจุบัน) ตามหลักศาสนาจึง
แทนการละหมาดวันศุกร์ ให้เป็นละหมาดซุฮรี 4 รอ
กาอัตในบ้าน หรือที่ใดก็ได้ที่หลีกเลี่ยงจากผู้คนจำ
นวนมาก หนาแน่น
فقد دل الحديث على الأمر بترك الجماعات تفاديًا للمشقة الحاصلة بسبب المطر، ولا شك أن خطر الفيروس أعظم من مشقَّة الذهاب للصلاة مع المطر، فالترخُّص بترك صلاة الجمعة في المساجد عند حلول الوباء، ووقوعه أمر شرعي ومُسلَّم به عقلًا وفقهًا، والبديل الشرعي عنها أربع ركعات ظهرًا في البيوت، أو في أي مكان غير مزدحم.

ทั้งนี้ นักวิชาการฟิกฮ์จึงมีติ สิ้นสุดที่ว่า การหวาดกลั
วระแวงต่อชีวิต ทรัพย์สินเงินทอง หรือครอบครัวนั้น
ถือเป็นกรณีจำเป็น ที่อนุญาตให้งดการละหมาดวัน
ศุกร์หรือละฟมาดญะมาอะห์ได้ อันเนื่องจากมีฮาดิษ
รายงานเป็นหลักฐาน ดังนี้ :-

1.บันทึกโดยอาบีดาวูดรายงานจากอิบนุ อับบาสจาก
คำกล่าวของท่านนบีมุหัมหมัด ว่า :” บุคคลใดได้ยิน
เสียงอาซาน (เสียงเรียกผู้อาชานเชิญชวนละหมาด)
และไม่มีความจำเป็นใดที่ห้ามเขาไปสู่การละหมาด
ญะมาอะห์ ผู้คนจึงกล่าวถามอิบนุอับบาสว่า :”อะไร
คือความจำเป็น ? ท่านกล่าวว่า :” ความหวาดกลัว
หรือโรคภัย ซึ่งละหมาดที่เขาละหมาดจะไม่ถูกตอบ
รับ (หากไปละหมาดที่มัสยิดตามผู้อาซานเชิญชวน)

2. บันทึกโดย الشيخان ในหนังสือ الصحيح ทั้งสองท่าน
จากฮาดิษอับดุรเราะห์มาน อิบนุ เอาฟ์ ว่าเขาได้ยิน
ท่านนบีมุหัมหมัด กล่าวว่า :
” เมื่อสูเจ้าได้ยินว่ามีโรคระบาดหนึ่ง ในแผ่นใด ที่ใด
ดังนั้นอย่าเดินทางเข้าไปหามัน และหากมีโรคระบาด
เกิดขึ้นในแผ่นใด เมืองใด ในขณะที่สูเจ้าอยู่ในเมือง
นั้น ดังนั้นห้ามออกจากเมืองนั้น เพื่อหลบหนีโรค”
هذا..
وقد انتهى الفقهاء إلى أنَّ الخوف على النفس أو المال أو الأهل أعذارٌ تُبيح ترك الجمعة أو الجماعة؛ لما رواه أبو داود عن ابن عباس من قول النبي صلى الله عليه وسلم: «مَنْ سَمِعَ المنادِيَ فَلَمْ يَمْنَعْهُ مِنَ اتِّبَاعِهِ، عُذْرٌ»، قَالُوا: وَمَا الْعُذْرُ؟ قَالَ: «خَوْفٌ أَوْ مَرَضٌ، لَمْ تُقْبَلْ مِنْهُ الصَّلَاةُ الَّتِي صَلَّى».
وما أخرجه الشيخان في صحيحهما من حديث عبد الرحمن بن عوف أنه سمع النبي صلى الله عليه وسلم «إِذَا سَمِعْتُمْ بِهِ بِأَرْض فَلاَ تَقْدَمُوا عَلَيْهِ، وَإِذَا وَقَعَ بِأَرْضٍ وَأَنْتُمْ بِهَا فَلاَ تَخْرُجُوا فِرَارًا مِنْهُ».

แท้จริงท่านนบีมุหัมหมัดได้สั่งห้ามบุคคลที่มีกลิ่นไม่
พึงควร ( กลิ่นเหม็น) ที่สร้างความรบกวนผู้คนให้ละ
หมาดในมัสยิด (ไม่ให้ละหมาดที่มัสยิด) เพื่อป้องกัน
การก่อโทษแก่ผู้คน โดยมีหลักฐาน ดังนี้ :-
ฮาดิษบันทึกโดย บุคคอรี จากยาบิร อิบนุ อับดุลเลาะ
แท้จริงท่านนบีมุหัมหมัดกล่าว่า :” บุคคลใดที่ได้กิน
กระเทียมหรือหัวหอม เขาผู้นั้นจงออกห่างจากมัสยิด
เรา แล้วจงนั่งในบ้านของเขา ”
وقد نهى النبي صلى الله عليه وسلم مَن له رائحة كريهة تُؤذي الناس أن يُصلي في المسجد؛ منعًا للإضرار بالناس، فقد أخرج البخاري عن جابر بن عبد الله رضي الله عنه أن النبي صلى الله عليه وسلم قال: «من أكل ثومًا أو بصلًا، فليعتزلنا – أو قال: فليعتزل مسجدنا – وليقعد في بيته». وما ورد في الحديث ضررٌ محدود، سرعان ما يزول بالفراغ من الصلاة، فما بالنا بوباءٍ يَسهُل انتشاره! ويتسبَّب في حدوث كارثةٍ قد تخرج عن حدِّ السيطرة عليها، ونعوذ بالله من ذلك.

ความหวาดกลัว ณ ปัจจุบันมันเกิดขึ้นเนื่องจากมีการ
แพร่หลายเชื้อไวรัสระบาดอย่างไวมาก และยังไม่บร
รลุถึงถึงความสำเร็จของการรักษาเชื้อไวรัสตัวนี้ จน
ถึงปัจจัน ด้วยเหตุนี้ มุสลิมจึงตกอยู่ในความจำเป็น
กรณีพิเศษ ในการหยุด งดการละหมาดวันศุกร์และ
ละหมาดญะมาอะห์
والخوف الآن حاصلٌ بسبب سرعة انتشار الفيروس، وقوَّة فتكه، وعدم الوصول إلى علاج ناجع له حتى الآن، ومن ثَمَّ فالمسلمُ معذورٌ في التخلُّف عن الجمعة أو الجماعة.

ทั้งนี้ สภาอุละมาอ์ผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยอัซฮัร
จึงมีทัศนะจบลงที่ว่า:”ถือเป็นอนุญาตตามหลักศาสน
า ให้แต่ละประเทศ หากมองว่า การรวมตัวเพื่อประ
กอบศาสนกิจละหมาดวันศุกร์ หรือละหมาดญะมา
อะห์ จะนำพาสู่การแพร่หลายไวรัสที่อันตรายตัวนี้
ให้ประกาศหยุดชะงัก งดการละหมาดวันศุกร์ และ
ละหมาดญะมาอะห์ได้ อย่างเป็นชั่วคราว ”
* وعليه: فتنتهي هيئة كبار العلماء بالأزهر الشريف إلى القول بأنه يجوز شرعًا للدولة متى رأت أن التجمُّع لأداء صلاة الجمعة أو الجماعة سوف يُؤدِّي إلى انتشار هذا الفيروس الخطير أن تُوقفهما مؤقتًا.

สภาฯ จึงขอฝากคำแนะนำ 3 ประการ ดังนี้
1.จำเป็นต้องทำการอาซานทุกเวลาละหมาดที่มัสยิด
ในกรณีที่งดการละหมาดวันศุกร์และญะมาอะห์ โดย
อนุญาตให้ผู้ทำการอาซานในทุกอาซาน กล่าวเรียก
ร้องว่า : ” صلوا في بيوتكم ” สูเจ้าจงละหมาดในบ้าน
وتُذكِّر الهيئة هنا بثلاثة أمور:
الأول: وجوب رفع الأذان لكل صلاة بالمساجد، في حالة إيقاف الجمعة والجماعات، ويجوز أن يُنادِي المؤذن مع كل أذان: (صلوا في بيوتكم).

2. สำหรับทุกครอบครัวที่อาศัยรสมกันให้ละหมาด
ญะมาอะห์รวมกันในบ้าน เพราะไม่จำเป็นต้องละหมา
ดญะมาอะห์ในมัสยิด จนกว่าจะมีประกาศยกเลิกภา
วะอันตราย (หากพระองค์ทรงประสงค์)
الثاني: لأهل كل بيت يعيشون معًا أداءُ الصلاة مع بعضهم بعضًا في جماعة؛ إذ لا يلزم أن تكون الجماعة في مسجد حتى إعلان زوال حالة الخطر بإذن الله وفرجه.

3. ประชานทุกคนจำเป็นต้องปฏิบัติตามประกาศและ
คำแนะนำที่ออกประกาศจากหน่วยงานทางการแพท
ย์ สาธารณสุข เพื่อให้ไวรัสลดลงหมดไป
الثالث: يجب شرعًا على جميع المواطنين الالتزام بالتعليمات والإرشادات الصادرة عن الجهات الصحية للحدِّ من انتشار الفيروس والقضاء عليه، واستقاء المعلومات من المصادر الرسمية المختصة، وتجنُّب ترويج الشائعات التي تُروِّعُ الناس، وتوقعهم في بلبلة وحيرة من أمرهم.

สภาฯ จึงขอเชิญชวนผู้รู้ นักวิชการศาสนาทั่วทุกมุม
โลก ให้ร่วมกันรักษาละหมาด พร้อมน้อมรับต่ออัลลอ
ฮในการขอดอุาต่อพระองค์ และร่วมกันสนับสนุน
ในการช่วยเหลือผู้ป่วย และให้มากในการปฏิบัติคุณ
งามความดี เพื่อหวังว่าอัลลอฮจะยกภัยบลานี้ออกไป
และปกป้องรักษาบ้านเมืองเราและผู้คนทั่วโลก และ
ปกป้องคุ้มครองเราออกจากโรคภัยร้ายทั้งปวง
وتدعو ه

 804 total views,  2 views today

You may have missed