พฤษภาคม 5, 2024

spmc สื่อเพื่อสันติ สรรค์สร้างสังคม

*** สิทธิมนุษยชาติที่ควรปฏิบัติต่อใคร ***

แชร์เลย

อาจารย์อิสมาแอล สิงหาด…


ผู้นำสูงสุดแห่งมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร อียิปต์ กล่าวว่า
:” โลกมุสลิมมีความเรียกร้อง ต้องการ ในการดูแลรับ
ใช้คนจน และผู้ขัดสนต้องการความช่วยเหลือ”
#الإمام_الأكبر: العالم الإسلامي في حاجة لكل عمل إنساني
يخدم الفقراء والمحتاجين

ศาตราจารย์ ดร. อะหมัด อัตตัยยิบ ผู้นำสูงสุดมหา
วิทยาลัยอัลอัซฮัร เป็นประธานในที่ประชุม ครั้งที่ 67
เมื่อวันพุธที่ 25 ธันวาคม 62 ของสภาการช่วยเหลือ
โลกมุสลิม เพื่อเจรจาหารือถึงตารางการปฏิบัติงาน
และวิเคราะห์ วิจัยถึงความทุ่มเทเสียสละของสภาฯ
ในช่วงวาระที่ผ่านมา

ترأس فضيلة الإمام الأكبر أ.د/ أحمد #الطيب، #شيخ_الأزهر الشريف، اليوم الأربعاء، الاجتماع السابع والستين للمجلس الإسلامي العالمي للدعوة والإغاثة، لمناقشة جدول الأعمال وبحث ما أسفرت عنه جهود المجلس خلال الفترة الماضية.

ในช่วงแรกของการประชุม ผู้นำสูงสุดได้กล่าวว่า :
” แท้จริงโลกมุสลิม ณ เวลานี้นั้น มีความต้องการ เรีย
กร้องอย่างรุนแรงต่อการปฏิบัติเชิงความเป็นมนุษย์ ในการรับใช้ ดูแลคนจน และผู้ขัดสนที่ต้องการความ
ช่วยเหลือและสภาการช่วยเหลือโลกมุสลิมนั้นตกอยู่
ในสภาพต้องรับผิดชอบ ภาระหน้าที่อย่างหนัก เพื่อ
แบ่งเบาภาระคนจนในโลกมุสลิม โดยเฉพาะเหยื่อสง
คราม และเหยื่อในวิฤติปัญหาต่าง ที่เกิดขึ้นในหลาย
ประเทศมุสลิม
في بداية الاجتماع، قال فضيلة الإمام الأكبر إن العالم الإسلامي، في الوقت الراهن في أشد الحاجة لكل عمل إنساني يخدم الفقراء والمحتاجين، وأن المجلس الإسلامي العالمي للدعوة والإغاثة يقع على عاتقه الجانب الأكبر لتخفيف العبء عن فقراء العالم الإسلامي، وبخاصة ضحايا الحروب والأزمات في مختلف بلاد المسلمين.

ผู้นำสูงสุดเน้นย้ำว่า :” จำเป็นต้องมีการกำหนดยุทธ
ศาสตร์ในการทำงานของสภาการช่วยเหลือฯ ในช่วง
วาระต่อไป ซึ่งเรียกร้องให้องค์กร หน่วยงานต่าง ๆ
และสมาชิกสภาฯ ให้ร่วมกันทุ่มเทเสียสละเป็นหนึ่ง
เดียว เพื่อช่วยเหลืออำนวยความสะดวกในคำร้องขอ
เชิงมนุษยชาติ และการช่วยเหลือแก่ผู้ที่ตกเป็นเหยื่อ
ในสงครามและการทะเลาะในทั่วทุกมุมโลก โดยการ
สร้างโรงเรียน ,โรงพยาบาลและอำนวยความสะดวก
ช่วยเลือขั้นพื้นฐานหลักแก่พวกเขา”
وأكد فضيلة الإمام الأكبر ضرورة وجود استراتيجية محددة لعمل المجلس خلال الفترة المقبلة، مطالبًا بتوحيد جهود الهيئات والمنظمات الأعضاء بالمجلس بما يساعد على توفير كافة المتطلبات الإنسانية والإغاثية لضحايا الحروب والصراعات حول العالم، عبر بناء المدارس والمستشفيات وتوفير الاحتياجات الأساسية لهم.

อีกด้านหนึ่ง ดร.อัลดุลเลาะห์.เลขาธิการสภาการช่ว
ยฯ กล่าวชี้แจงว่า :” วาระการปฏิบัติในช่วงต่อไปนั้น
จะมุ่งเน้นถึงการให้การสนับสนุนภาคบังคับของคณะกรรมการสภาฯและติดต่อประสานเพื่อบรรลุถึงวัตถุประสงค์หลักของสภาฯ เพื่อสร้างความทุ่มเทเสียสล
ะให้เป็นหนึ่งเดียวของแต่ละโครงการให้มีส่วนร่วมใน
การให้บริการเชิงสิทธิมนุษยชาติ และการช่วยเหลือ
แก่ผู้ต้องการความช่วยเหลือและคนจนในโลกมุสลิม
من جانبه، أوضح الدكتور عبدالله المصلح، أمين عام المجلس الإسلامي العالمي للدعوة والإغاثة، أن محور عمل المرحلة المقبلة يرتكز على تقديم الدعم اللازم للجان المجلس، والتنسيق فيما بينها، لتحقيق الأهداف الرئيسة للمجلس، لتوحيد الجهود والخروج بمشروع موحد يسهم في تقديم الخدمات الإنسانية والإغاثية للمحتاجين والفقراء في العالم.

ดร.อับดุลเลาะห์ มะตูก รองผู้อำนวยการสภาฯ และ ผู้แทนเลขาธิการสหประชาชาติ ด้านกิจการมนุษย์
ิกล่าวว่า:” วิฤกติปัญหาด้านการปฏิบัติเชิงมนุษยชาติ
และการช่วยเหลือนั้นมีจำนวนมากซึ่งต้องการทำงาน
ร่วมกันอย่างทุ่มเทเสียสละกับองค์กร หน่วยงานมูลนิ
ธิ และการช่วยเหลือระดับนานาชาติ นั้นก็คือจุดประ
สงค์หลักที่สภาการช่วยเหลือฯ จัดตั้งขึ้นมา
وقال الدكتور عبدالله معتوق المعتوق، نائب رئيس المجلس، ومبعوث الأمين العام للأمم المتحدة للشئون الإنسانية، إن تحديات العمل الإنساني والإغاثي كثيرة وتحتاج لتضافر كافة جهود المنظمات والهيئات الخيرية والإغاثية عالميًا، وهو الهدف الذي من أجله تأسس المجلس.

يذكر أن فكرة تأسيس المجلس الإسلامي العالمي للدعوة والإغاثة قد جاءت خلال المؤتمر الحادي عشر لمجمع البحوث الإسلامية بالقاهرة عام 1988م، بمبادرة من الإمام الأكبر الراحل، الأستاذ الدكتور/ جاد الحق علي جاد الحق، شيخ الأزهر الأسبق، بهدف التنسيق بين نشاط الهيئات الدعوية والإغاثية الإسلامية، والعمل على تنظيم جهود الأمة الإسلامية الشعبية والرسمية في خدمة قضايا المسلمين، ومتابعة وتوجيه المساعدات المقدمة للشعوب الإسلامية في حالات الكوارث، وغيرها من الأهداف الإنسانية والإغاثية الأخرى.

 680 total views,  2 views today

You may have missed