พฤศจิกายน 27, 2024

สื่อเพื่อสันติspmc

spmc สื่อเพื่อสันติ สรรค์สร้างสังคม

*** ช่วงฟัตวาชี้แนะที่ (42) เฉพาะกิจโคโรนา *** ว่าด้วยการกักตัวเพื่อสุขภาพตามหลักการศาสนา

แชร์เลย

 

» คำตอบสรุปพอสังเขป คือ :
การกักตัวเพื่อสุขภาพ เป็นภาคบังคับจำเป็น (วายิบ)
ตามหลักการศาสนาสำหรับผู้ป่วย และผู้ติดเชื้อโรค
ติดต่อ และฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติมาตราการกักตัว ถือเป็น
ความผิด อาชญากรรมทางหลักศาสนา และภัยอันต
รายต่อมนุษยธรรมที่มนุษย์กระทำความผิดในสิทธิ
ต่อตัวเขา (ทำลายตัวเอง) , สิทธิทางด้านศาสนาและ
ประเทศชาติ
«الحجر الصِّحي، مشروعيته، وحكم الامتناع عنه».

الجواب المختصر:
الحجر الصِّحي واجبٌ شرعيٌّ على المَرضَى والمُصَابين بمرضٍ مُعْدٍ، والامتناعُ عنه جريمةٌ دينيَّةٌ وكارثةٌ إنسانيَّة يرتكبها الإنسان في حقِّ نفسِه ودِينه ووطنه.

» คำตอบอย่างละเอียด คือ :
แท้จริงศาสนาอิสลามนั้นให้ความสำคัญต่อพื้นฐาน
ด้านสุขภาพโดยทั่วไปเป็นอย่างมาก และรักษาสุข
ภาพจากโรคภัยและโรคระบาด ผ่านช่องทางการแพ
ทย์ด้านการป้องกัน ดังนั้นอิสลามคือบุคคลแรกที่ได้
วางกฎมาตราการกักตัวเพื่อสุขภาพ เพื่อให้มุสลิมได้
ยึดปฏิบัติกฏมาตราการนั้นอย่างเคร่งครัด เพราะเมื่อ
ใดมุสลิมมีสุขภาพแข็งแรง เรือนร่างปลอดจากโรค
ภัย แน่นอนเขาสามารถดำรงซึ่งการปฏิบัติหลักปฏิบั
ติภาคบังคับต่าง ๆ ของเขาได้อย่างสุดความสามารถ

الجواب المُفَصَّل:
الحمدُ لله، والصَّلاة والسَّلام على سيدنا رسول الله، وعلى آله وصحبه ومَن وَالَاه، وبعد…

فقد اهتمَّ الإسلامُ الحنيف والشَّرعُ الشَّريف اهتمامًا بالغًا بأسس الصِّحَّة العامَّة، والمحافظة عليها من الأمراض والأوبئة، وذلك عن طريق الطبِّ الوقائي، فالإسلام أَوَّل من وضع قانون الحجر الصِّحي، ليتمسك به المسلم تمسكًا قويًا، ذلك أن المسلم إذا كان قويًا صحيح البنية كان أقدر على القيام بواجباته.

มีรายงานจากท่านอุซามะห์ อิบนุเซด – รอดิยัลลลอฮุ
กล่าวว่า :” ท่านนบีมุหัมหมัด – ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะ
ซัลลัม – : อัตตออูน (โรคระบาด) นั้นเป็นเครื่องหมาย
ภัยอันตรายซึ่งอัลลอฮทรงทดสอบผู้คนจากบ่าวของ
พระองค์ด้วยโรคระบาดนั้น ดังนั้นเมื่อท่านทั้งหลาย
ได้ยินข่าวสารว่ามีโรคระบาด ก็อย่าได้เข้าไปหามัน
และหากโรคระบาดเกิดที่เมือง , ประเทศ , จังหวัดใด
ซึ่งพวกเจ้าอยู่ในเมืองนั้น ก็อย่าได้หนีออกจากโรคระ
บาดนั้น [ บันทึกโดย : มุสลิม]
فعن أسامة بن زيد –رضي الله عنه- قال: قال رسول الله -صلى الله عليه وسلم-: «الطاعون آية الرِّجز، ابتلى الله -عز وجل- به ناسًا من عبادِه، فإذا سمعتم به، فلا تدخلوا عليه، وإذا وقع بأرضٍ وأنتم بها، فلا تفرُّوا منه» [رواه مسلم].

ดังนั้น การกักตัวเพื่อสุขภาพ คือ : การห้ามเข้าไปใน
เมือง , จังหวัด , ประเทศที่มีโรคระบาด หรือห้ามออก
จากเมืองนั้น เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติด
เชื้อได้อย่างรวดเร็วและนำพาสู่บุคคลอื่น เช่น ตออูน
,อหิวาตกโรค , โรคไข้รากสาดใหญ่ และโรคโคโรนา
สายพันธุ์ใหม่ และการกักตัวเพื่อสุขภาพนั้นถือเป็น
ระบบระเบียบที่สำคัญที่สุดในด้านการป้องกันทางกา
รแพทย์ และเป็นกฏเหล็กสุดที่ทางการแพทย์ได้อาศั
ยในการป้องกันจากโรคภัยระบาด เพื่อจำกัดโรคระ
บาดนั้นให้อยู่ในวงแคบที่สุด และให้โรคระบาดกักตัว
อยู่ในแหล่งแพร่เชื้อที่แรก เพื่อไม่ให้เชื้อแพร่ขยาย
และติดเชื้อเป็นจำนวนมากด้วยสาเหตุโรคระบาด

فالحجر الصِّحي: هو المنع من دخول أرض الوباء، أو الخروج منها؛ منعًا لانتشار العدوى بالأمراض المعدية السريعة والانتقال مثل الطاعون والكوليرا والتيفوس وكورونا المستجد، ويعتبر الحجر الصحِّيُّ أعظم نظام في الطبِّ الوقائي، وأقوى وسيلة يُلجأ إليها للوقاية من الأمراض الوبائية؛ لحصرِ المرض في أضيق حدوده وحجره في مَهدِه الأَوَّل حتى لا ينتشر وتكثرُ الإصابة به.

อีกทั้ง มีหลายตัวบทฮาดิษของท่านนบีมุหัมหมัดที่ได้
ระบุถึงการแนะนำเรื่อง การห้ามให้ผู้ป่วยอยู่ปะปนกั
บผู้ที่มีสุขภาพดี แข็งแรง เพื่อป้องกันรักษาตัว
โดยมีรายงานจากท่านอาบี ฮุรัยเราะห์ – รอดียัลลอฮุ
อันฮุ – แท้จริงท่านนบีมุหัมหมัด – ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ
วะซัลลัม – กล่าวว่า :” อย่าได้นำคนป่วยมารวมกับ
คนสุขภาพดี ” [ บันทึกโดย : บุคอรี]

وكذلك وردت نصوص نبويَّة شريفة ترشد إلى منع اختلاط المريض بالأصحَّاء؛ حمايةً لهم وحفاظًا عليهم، فعن أبي هريرة –رضي الله عنه- أن النبي -صلى الله عليه وسلم- قال: «لا يُورِدَنَّ مُمرِضٌ على مُصحٍّ» [رواه البخاري]

รายงานจากอัมร์ อิบนุชชะรีด จากบิดาของเขากล่าว
ว่า :” มีชายผู้หนึ่งเป็นโรคเรื้อนในคณะผู้แทนษะกีฟ
ท่านนบีจึงส่งศาส์นไปหาชายผู้นั้นว่า :” แท้จริงเราได้
ให้สัตยาบันต่อท่านแล้ว ได้โปรดเดินทางกลับได้เลย
[บันทึกโดย : มุสลิม]
وعن عمرو بن الشَّريد، عن أبيه، قال: كان في وفدِ ثَقيف رجلٌ مجذومٌ، فأَرسلَ إليه النبيُّ -صلى الله عليه وسلم-: «إنَّا قد بايعناك؛ فارْجِع» [رواه مسلم].

وعن ابن أبي مليكة، أن عمر بن الخطاب –رضي الله عنه- مَرَّ بامرأةٍ مجذومة وهي تطوفُ بالبيت، فقال لها: “يا أَمَة الله، لا تُؤذِي النَّاس، لو جلستِ في بيتك”، فجلستْ في بيتها، فمرَّ بها رجلٌ بعد ذلك، فقال: إنَّ الذي نهاك قد مات، فاخرجي، فقالت: “والله ما كنت لأطيعه حيًّا وأعصيه ميتًا” [موطأ مالك].

ฉะนั้น การที่ผู้ป่วยถูกกักพักรักษาตัว และหลีกเลี่ยง
การอยู่ร่วมปะปนกับผู้ป่วยนั้น อันเป็นเพราะความจำ
เป็น แน่นอนมันเป็นเรื่องที่ศาสนาได้สั่งใช้ และลักษ
ณะเช่นนี้นั้นไม่ใช่เป็นการปฏิเสธการมอบหมายต่อ
อัลลอฺฮ (ตะวักกัล) ไม่ขัดกับหลักการมอบหมาย ทว่า มันคือแก่นแท้หลักของการมอบหมายนั้นเอง
ดังนั้นอัลลอฮทรงสั่งให้เราเคารพเชื่อฟังต่อพระองค์
ว่า อย่าได้นำตัวเราด้วยน้ำมือของเราสู่ความวิบัติ
ดั่งที่อัลลอฮทรงตรัสไว้ในอัลกุรอ่านว่า :

{ และสูเจ้าทั้งหลายอย่าได้นำตัวสูจ้าสู่ความวิบัต ิ}
โองการ : 195 ซูเราะห์อัลบะกอเราะห์

อีกโองการหนึ่งอัลลอฮทรงสั่งใช้ปวงบ่าวของพระองค์ ให้ยึดเอาการระมัดระวังพวกเขาจากทุกสิ่งอย่า
งที่อาจนำพาสู่อันตรายและความวิบัติ และทรงเน้น
ย้ำว่า จำเป็นต้รักษาไว้ซึ่งชีวิต ดั่งที่อัลลอฺฮทรงตรัส:

{ จงยึดถือไว้ซึ่งความระมัดระวังตัวของสูเจ้า }
โองการ : 71 ซูเราะห์ อันนิซาอ์
فعزل المَرضَى والبعد عن مخالطتهم إلا لضرورة قد أمر به الشَّرعُ الشَّريف، وهذا لا يُنافي التَّوكُّل على الله -سبحانه-، بل هو مقامُ عينِ التَّوكُّل، فقد تَعبَّدَنا الله -تعالى- بألا نُلقي بأيدينا إلى التُّهْلُكة، فقال -جلَّ جلاله-: {وَلَا تُلْقُوا بِأَيْدِيكُمْ إِلَى التَّهْلُكَةِ} [البقرة:195]، كما أمر –سبحانه- عبادَه أن يأخذوا حذرهم من كلِّ ما يُمكن أن يُلحِق الضَّرر بهم ويُهلكهم، وأكَّد وجوب حفظ النفس بقوله -تعالى-: {خُذُوا حِذْرَكُمْ} [النساء:71].

การกักตัวเพื่อสุขภาพ เป็นมาตราการป้องกันอันหมา
ยถึงห้ามผู้ป่วยที่เป็นโรคติดเชื้ออยู่ร่วมปะปนกับประ
ชาชนที่มีสุขภาพดีแข็งแรง และการฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติ
ตามมาตราการนั้น ถือเป็นฮารอม (บาป) ตามหลักกา
รศาสนา
فالحجر الصحي تدبير احترازي يقتضي منع اختلاط مرضى الأمراض المعدية بجمهور الأصحاء، والامتناع عنه حرامٌ شرعًا.

มาตราการดังกล่าวนั้นถือเป็นหนึ่งในมาตราการทาง
การแพทย์ที่ให้การยอมรับ และสาเหตุด้านการป้อง
กันในสังคม ณ ปัจจุบัน โดยบุคคลแรกที่ได้วางกฎระ
เบียบกักตัวเพื่อสุขภาพ พร้อมประกาศบังคับใช้ปฏิบั
ติตาม คือท่านนบีมุหัมหมัด – ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะ
ซัลลัม – และบรรดาศอฮาบัตได้ปฏิบัติตามกฎระเบีย
บ มาตราการนั้นอย่างสมบูรณ์แบบ และผลที่ปรากฎ
จากมาตราการของท่านนบี คือการสร้างโรงพยาบา
ลกักตัวเพื่อสุขภาพหลังแรกในอิสลาม เพื่อรักษาผู้ป่
วยโรคเรื้อนผิวหนัง โดยวะลีด อิบนุ อับดุลมะลิกในปี
ค.ศ. 706 (ฮ.ศ. 88) ในช่วงยุคที่ยังไม่รู้จักกันว่าอะไร
คือโรงพยาบาล (เหมือนอย่างยุคปัจจุบัน)
وهو من الإجراءات الصِّحية المعتبرة، والأسباب الوقائية في المجتمع المتحضر الآن، وأَوَّل من وضع نظام الحجر الصِّحي ونفذَّه وأمر به النبي -صلى الله عليه وسلم-، ولقد تمَّ تطبيقه عمليًا لدى الصحابة -رضى الله عنهم-، وكان من أَثَر ذلك إنشاء أول مستشفى للحجر الصحي في الإسلام، وكان للمجذومين على يد الوليد بن عبد الملك عام (88هـ/706م)، في حين لم تعرف الدُّنيا وقتها هذا النوع من المستشفيات.

وقد قامت العديد من دول العالم بتبني ما شُرع على لسان سيدنا محمد -صلى الله عليه وسلم-، وأيَّدته التَّجارب الطبية بعد قرون كثيرة، بل وأصبح من الإجراءات التي تلجأ إليها المستشفيات العامَّة والخاصَّة في مناحي العالم للقضاء على أمراض كثيرة معدية، وأثبتت في هذا الفاعلية في مكافحة انتشار العديد من الأمراض المنتقلة.

นักวิชาการด้านการแพทย์จึงสามารถเข้าใจถึงฮาดิษ
ได้ว่า :” การจำกัดโรคภัยในสถานที่เขตฉพาะ มันจะ
เกิดผลจริง – ด้วยการอนุมัติของพระเจ้า – ด้วยการ
ห้ามออกจากเมืองที่มีโรคระบาด ”
فقد توصل العلماء في الطبِّ الحديث أن حصر المرض في مكان محدود يتحقق بإذن الله بمنع الخروج من الأرض الموبوءة.

ดังนั้น การห้ามออกจากเมืองที่มีโรคระบาดนั้น เปรีย
บเสมือนการกักตัวเพื่อสุขภาพ อย่างที่อิสลามได้ทัน
สมัยกว่าทางการแพทย์มาแล้วตั้งแต่หลายร้อยกว่าปี
รวมทั้ง การห้ามเข้าไปในเมืองที่มีโรคระบาด นับว่า
เป็นมาตราการป้องกันที่อิสลามได้ทำมาก่อนแล้ว
(อิสลามทันสมัยกว่าทางการแพทย์) มาตราการ :
” คนในห้ามออก คนนอกห้ามเข้า ”
فالنهي عن الخروج من الأرض الموبوءة يمثل حجرًا صحيًّا سبق إليه الإسلام الطب بمئات السنين، كما أن منع الدخول إلى الأرض الموبوءة يعد إجراء وقائيًّا سبق إليه الإسلام.

هذا؛ والله -تعالى- أعلى وأعلم، وأعزُّ وأحكم.

ونسأله سبحانه أن يكشف عنّا البلاء والوباء وأن يُبارك لنا في شعبان ويبلغنا رمضان ويرُدَّنا إلى بيوته مردًا جميلًا عاجلًا غير آجل.

وصلَّى الله وسلَّم على سيِّدنا ومولانا محمد، وعلى آله وصحبه أجمعين، والحمد لله ربِّ العالمين.

#الفتاوى_الإلكترونية | #وقاية | #كورونا

ถอดความ : อิสมาอีล สิงหาด
ที่มา : ศูนย์ฟัตวาออนไลน์อัซฮัรโลก
วันที่ : 9 เมษายน 2563 (15 ชะอ์บาน 1441)

 790 total views,  2 views today

You may have missed