เมษายน 19, 2024

spmc สื่อเพื่อสันติ สรรค์สร้างสังคม

หากเราไม่สามารถไปละหมาดศพให้คนสนิทที่รักที่ เสียชีวิตด้วยโรคโคโรนา เราจะละหมาดศพอย่างไร

แชร์เลย

*** ช่วงฟัตวาชี้แนะที่ (37) เฉพาะกิจโคโรนา ***
ว่าด้วยการละหมาดฆออิบ (ศพไม่อยู่ต่อหน้าคนละห
มาด) ที่เสียชีวิตด้วยโรคโคโรนา

ตอบโดย : สภาวิจัยอิสลาม อัลอัซฮัร อียิปต์

» คำถาม : อะไรคือวิธีการละหมาดศพให้แก่บุคคล
ที่อยู่ร่วมกันที่เป็นอันที่รักของพวกเรา เขาเสียชีวิต
ด้วยสาเหตุโรคโคโรนา และถูกฝังในต่างประเทศ?

» คำตอบ : เป็นเรื่องที่เห็นพ้องตรงกัน (اتفاق) ในหมู่
นักวิชาการนิติศาสตร์อิสลามว่า ละหมาดศพนั้นเป็น
ฟัรฎูกิฟายะห์ คือหากมีบางส่วนจากผู้คนได้ทำการ
ละหมาดศพแล้ว บาปก็จะหลุดพ้นจากผู้คนที่เหลือ
ด้วย

และถ้าหากมีมุสลิมคนเดียวเท่านั้นในสถานที่ละหมา
ดศพ การละหมาดจึงตกเฉพาะบนตัวเขา (มุสลิมนั้น)
และการละหมาดศพก็กลายเป็นฟัรฎูอีนทันที (บาปจ
ะตกอยู่ที่เขา ถ้าไม่ละหมาด) และหากคนหนึ่งคนใด
จากผู้คนมุสลิมไม่ทำการละหมาด ถือว่าบาปกันทั้ง
หมดชาวมุสลิม

การละหมาดฆออิบนั้น ตามทัศนะที่มีน้ำหนักที่สุด
คือ บทบัญญัติการละหมาดฆออิบเป็นลักษณะทั่วไป
(ไม่มีการเจาะจงเงื่อนไขใด) مطلقا กล่าวคือ ไม่จะละ
หมาดแก่ศพ (ฆออิบ) ในประประเทศที่ศพเสียชวิต
หรือ ไม่สามารถไปร่วมละหมาดได้ (คือต่างประเทศ)
เพราะมีหลักฐานประเด็นดังกล่าว คือ :
“นบีได้ละหมาดฆออิบให้แก่อันนะญาซีย (์النجاشي)

ما هي كيفية الصلاة على من قضوا نحبهم بسب فيروس – كورونا- ودفنوا خارج البلاد ؟

#مجمع_البحوث_الإسلامية
#لجنة_الفتوى
من المتفق عليه أن صلاة الجنازة فرض كفاية إذا قام به البعض سقط الإثم عن الباقين، وإذا لم يوجد سوى مسلم واحد تعينت عليه وأصبحت فرض عين يأثم بتركه، وإن لم يقم أحد من المسلمين بها أثموا
وصلاة الغائب على الميت الراجح فيها أنها مشروعة مطلقاأي سواء صلي عليه في البلد الذي مات فيه أو لم يصل عليه. والدليل على ذلك : صلاة الرسول صلى الله عليه وسلم على النجاشي.
ถอดความ : อิสมาอีล สิงหาด
ที่มา : เพจสภาวิจัยฯ
วันที่ : 30 มีนาคม 2563
วันหยุดแสนสบาย

 2,952 total views,  4 views today

You may have missed