เมษายน 18, 2024

spmc สื่อเพื่อสันติ สรรค์สร้างสังคม

คำถามละหมาดผู้นำกับมะอ์มูน live ออนไลน์

แชร์เลย


อ่านไปเจอคอมเม้นท์หนึ่ง ได้เสนอแนะนำองค์กร
ศาสนาอิสลามหลัก ว่าน่าจะมีการตั้งเพจแต่ละจัง
หวัด แล้วอ่านคุตบะห์วันศุกร์ และละหมาด โดยคน
ที่บ้านละหมาดตามผ่านไลฟ์สด

ตามหลักการศาสนาว่าอย่างไร ??
อัซฮัรมีคำตอบ
*** ช่วงฟัตวาชี้แนะที่ (41) เฉพาะกิจโคโรนา ***
ว่าด้วยการละหมาดวันศุกร์ ตามเสียงวิทยุ , ทีวี หรือ
ไลฟ์สด เนื่องจากมัสยิดถูกสั่งปิด ด้วยสาเหตุแพร่โร
คระบาด ณ ขณะนี้
…………………………


เนื่องจาก ผมเจอความคิดเห็นข้อเสนอแนะหนึ่งในเพ
จขององค์กรอิสลาม ขอให้แต่ละจังหวัดมีมัสยิดหลัก
คอยอ่านคุตบะห์และละหมาด และคนที่อยู่บ้านละห
มาดตามอีหม่ามในไลฟ์สดเฟสบุค จึงนึงถึงฟัตวานี้
………………………..
» ตอบโดย : สภาวิจัยอิสลาม อัลอัซฮัร อียิปต์
» คำถาม : ละหมาดวันศุกร์ตามโทรทัศน์ ทีวี , ราย
การวิทยุ เสียงตามสาย (ไลฟ์สดเฟสบุค) เนื่องจาก
มัสยิดถูกสั่งปิด ด้วยสาเหตุแพร่โรคระบาดตอนนี้
ใช้ได้หรือไม่ ? เศาะห์หรือไม่ ?

» คำตอบ : การละหมาดวันศุกร์โดยผ่านช่องทางโท
รทัศน์ , รายวิทยุเสียงตามสาย หรือเครื่องมือสื่อสาร
สมัยใหม่ เช่น ไลฟ์สดเฟสบุค ถือว่าใช้ไม่ได้ (لا تصح)
ฉะนั้นบุคคลใดได้กระทำเช่นนั้น ละหมาดเขาใช้ไม่
ได้ (ไม่เศาะห์) เพราะไม่มีการเชื่อมติดต่อระหว่างอี
หม่าม (ผู้ละหมาดนำ) และมะอ์มูม (ผู้ละหมาดตาม)
ซึ่งถือเป็นเงื่อนไขที่ทำให้การทำละหมาดวันศุกร์นั้น
ใช้ได้ ดั่งที่นักนิติศาสตร์อิสลาม ( الفقهاء) ได้วางตัว
บทไว้ และจำเป็นบนผู้ชายมุสลิมทุกคนต้องละหมาด
วันศุกร์ เป็นละหมาดซุฮรี 4 รอกาอัตในบ้าน

» คำอธิบายอย่างละเอียด คือ : (กำลังแปล)

هل تصح صلاة الجمعة خلف التلفاز أو المذياع بسبب إغلاق المساجد بسبب انتشار الوباء الحالى؟

#مجمع_البحوث_الإسلامية
#لجنة_الفتوى

قال الله تعالى: ( يَاأَيُّهَا الَّذِينَ آمَنُوا إِذَا نُودِيَ لِلصَّلَاةِ مِنْ يَوْمِ الْجُمُعَةِ فَاسْعَوْا إِلَى ذِكْرِ اللَّهِ)، و قَالَ: قَالَ النَّبِيُّ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ: «لاَ يَغْتَسِلُ رَجُلٌ يَوْمَ الجُمُعَةِ، وَيَتَطَهَّرُ مَا اسْتَطَاعَ مِنْ طُهْرٍ، وَيَدَّهِنُ مِنْ دُهْنِهِ، أَوْ يَمَسُّ مِنْ طِيبِ بَيْتِهِ، ثُمَّ يَخْرُجُ فَلاَ يُفَرِّقُ بَيْنَ اثْنَيْنِ، ثُمَّ يُصَلِّي مَا كُتِبَ لَهُ، ثُمَّ يُنْصِتُ إِذَا تَكَلَّمَ الإِمَامُ، إِلَّا غُفِرَ لَهُ مَا بَيْنَهُ وَبَيْنَ الجُمُعَةِ الأُخْرَى»(رواه البـخاري)، و روى أبو داود عن أوسُ بن أوس الثَّقفي قال: سمعتُ رسولَ الله صلى الله عليه وسلم يقول:”مَن غَسَلَ يومَ الجُمُعةِ واغتَسَلَ، ثمَّ بكَرَ وابتكرَ، ومشى ولم يَركَب، ودنا مِن الإمامِ فاستَمعَ ولم يَلْغُ، كانَ له بكُل خُطوةٍ عَمَلُ سنةٍ أجرُ صِيامِها وقِيامِها”.
والذي يتضح من هذه الأدلة: أن الفريضة التي تعبدنا الله عز وجل بها يوم الجمعة هي صلاة الجمعة، و إذا تعذرت علينا صلاتها في المساجد بسبب قرار إغلاقها جاءت الرخصة الشرعية وهي صلاة الظهر؛ فقد روى الحاكم بسنده عَنِ ابْنِ عَبَّاسٍ، قَالَ: قَالَ رَسُولُ اللَّهِ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ: «مَنْ سَمِعَ الْمُنَادِيَ فَلَمْ يَمْنَعْهُ مِنَ اتِّبَاعِهِ عُذْرٌ فَلَا صَلَاةَ لَهُ» قَالُوا: وَمَا الْعُذْرُ؟ قَالَ: «خَوْفٌ، أَوْ مَرَضٌ»، فهذه رخصة شرعية محددة لا يجوز لنا أن نتركها وأن نبتدع في دين الله عز وجل شيئا جديداً على حسب أهواء الناس ورغباتهم.
وهذه الصورة التي يدعو بعض الناس اليها بأن نصلي خلف التليفزيون أو الاذاعة تناقض مقصود الشارع وهو لقاء المسلمين في مكان واحد لقاء حقيقياً وليس لقاءً افتراضياً.
وقد اشتراط الفقهاء لصحة اقتداء المأموم بالإمام في الجمعة والجماعات الاتصال المكاني بأن يكون كل منهما في مكان واحد.
جاء في بدائع الصنائع في الفقه الحنفي : { (ومنها) – اتحاد مكان الإمام والمأموم، ولأن الاقتداء يقتضي التبعية في الصلاة، والمكان من لوازم الصلاة فيقتضي التبعية في المكان ضرورة، وعند اختلاف المكان تنعدم التبعية في المكان فتنعدم التبعية في الصلاة لانعدام لازمها} بدائع الصنائع (1/ 145).
وجاء حاشية الجمل في الفقه الشافعي :{ و ثالثها : اجتماعهما أي الإمام والمأموم بمكان .. فإن كانا بمسجد صح الاقتداء ، وإن بعدت مسافة ،
و حالت أبنية كبئر وسطح .. لَمْ يَصِحَّ الِاقْتِدَاءُ إذْ الْحَيْلُولَةُ بِذَلِكَ تَمْنَعُ الِاجْتِمَاعَ} حاشية الجمل على شرح المنهج (1/ 551).
وبناء على ما سبق : لا تصح صلاة الجمعة بواسطة التلفاز أو المذياع أو عبر وسائل الاتصالات الحديثة ، ومن فعل ذلك فصلاته باطلة ؛ وذلك لانتفاء الاتصال بين الإمام والمأموم الذي يشترط لصحة الاقتداء كما نص الفقهاء وعلى الجميع أن يصليها ظهرًا أربع ركعات في البيت.
ถอดความ : อิสมาอีล สิงหาด
ที่มา : เพจ สภาวิจัยอิสลามฯ
วันที่ : 8 เมษายน 2563

 1,419 total views,  2 views today

You may have missed